|
การบำบัด
ผู้ติดยาเสพติดเป็นผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การบำบัดรักษาจึงต้องกระทำพร้อมกันทั้งสองด้าน ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาเพื่อให้ผู้ป่วยได้ปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรม และความเคยชินต่าง ๆ ครอบครัว เพื่อน และ สิ่งแวดล้อมในชุมชนที่อยู่อาศัย จจึงมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้
การติดยาเสพติดไม่ได้เกิดจากการรับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งต้องใช้ยาไปบำบัดโดยตรงยาที่รักษาจึงเป็น เพียงยาที่ใช้บรรเทาอาการขาดยาเสพติดเท่านั้น
ผู้ติดยาเสพติดบางชนิด เช่น สารระเหย กัญชา ฯลฯ สามารถหยุดเสพได้เอง เพราะอาการขาดยามีน้อย ยกเว้น ยาเสพติดชนิดกระตุ้นประสาท เช่น ยาบ้า โคเคน ยาอี ยาเค ซึ่งแม้ว่าอาการทางกายจะไม่ปรากฎ แต่อาการ ทางจิตใจ จะเกิดขึ้นในลักษณะซึมเซา เบื่อหน่าย และขาดความกระตือรือร้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งในรายที่มีอาการ ทางจิตใจ ในระดับรุนแรงจำเป็นจะต้องใช้ยารักษาตามอาการที่เกิดขึ้น จึงจะทำให้ผู้ป่วยหยุดอาการทรมานทางด้านจิตใจได้
ทั้งนี้ในกรณีผู้ที่มีที่พฤติกรรมติดยาเสพติดแล้ว ควรต้องนำเข้ารับการบำบัดรักษาเพื่อปรับเปลี่ยนความคิด และทัศนคติที่จะไม่กลับไปใช้ยาเสพติดในการ
ผู้ติดยาเสพติดเป็นผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การบำบัดรักษาจึงต้องกระทำพร้อมกันทั้งสองด้าน ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาเพื่อให้ผู้ป่วยได้ปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรม และความเคยชินต่าง ๆ ครอบครัว เพื่อน และ สิ่งแวดล้อมในชุมชนที่อยู่อาศัย จจึงมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้
การติดยาเสพติดไม่ได้เกิดจากการรับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งต้องใช้ยาไปบำบัดโดยตรงยาที่รักษาจึงเป็น เพียงยาที่ใช้บรรเทาอาการขาดยาเสพติดเท่านั้น
ผู้ติดยาเสพติดบางชนิด เช่น สารระเหย กัญชา ฯลฯ สามารถหยุดเสพได้เอง เพราะอาการขาดยามีน้อย ยกเว้น ยาเสพติดชนิดกระตุ้นประสาท เช่น ยาบ้า โคเคน ยาอี ยาเค ซึ่งแม้ว่าอาการทางกายจะไม่ปรากฎ แต่อาการ ทางจิตใจ จะเกิดขึ้นในลักษณะซึมเซา เบื่อหน่าย และขาดความกระตือรือร้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งในรายที่มีอาการ ทางจิตใจ ในระดับรุนแรงจำเป็นจะต้องใช้ยารักษาตามอาการที่เกิดขึ้น จึงจะทำให้ผู้ป่วยหยุดอาการทรมานทางด้านจิตใจได้
ทั้งนี้ในกรณีผู้ที่มีที่พฤติกรรมติดยาเสพติดแล้ว ควรต้องนำเข้ารับการบำบัดรักษาเพื่อปรับเปลี่ยนความคิด และทัศนคติที่จะไม่กลับไปใช้ยาเสพติดในการ
วิธีการบำบัด
ธรรมชาติของผู้ติดยา
ผู้ติดยาเสพติดเป็นผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การบำบัดรักษาจึงต้องกระทำพร้อมกันทั้งสองด้าน ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาเพื่อให้ผู้ป่วยได้ปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรม และความเคยชินต่าง ๆ ครอบครัว เพื่อน และ สิ่งแวดล้อมในชุมชนที่อยู่อาศัย จจึงมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้
การติดยาเสพติดไม่ได้เกิดจากการรับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งต้องใช้ยาไปบำบัดโดยตรงยาที่ รักษาจึงเป็น เพียงยาที่ใช้บรรเทาอาการขาดยาเสพติดเท่านั้น
ผู้ติดยาเสพติดบางชนิด เช่น สารระเหย กัญชา ฯลฯ สามารถหยุดเสพได้เอง เพราะอาการขาดยามีน้อย ยกเว้น ยาเสพติดชนิดกระตุ้นประสาท เช่น ยาบ้า โคเคน ยาอี ยาเค ซึ่งแม้ว่าอาการทางกายจะไม่ปรากฎ แต่อาการ ทางจิตใจ จะเกิดขึ้นในลักษณะซึมเซา เบื่อหน่าย และขาดความกระตือรือร้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งในรายที่มีอาการ ทางจิตใจ ในระดับรุนแรงจำเป็นจะต้องใช้ยารักษาตามอาการที่เกิดขึ้น จึงจะทำให้ผู้ป่วยหยุดอาการทรมานทางด้านจิตใจได้
ทั้งนี้ในกรณีผู้ที่มีที่พฤติกรรมติดยาเสพติดแล้ว ควรต้องนำเข้ารับการบำบัดรักษาเพื่อปรับเปลี่ยนความคิด และทัศนคติที่จะไม่กลับไปใช้ยาเสพติดในการดำรงชีวิตอีก
ขั้นตอนการบำบัดรักษา
1. ขั้นเตรียมการ
ผู้ป่วยต้องมาสมัครรักษาด้วยตนเองและจะได้รับการบำบัดรักษาภายใน 7 วัน
2. ขั้นถอนพิษยา
2.1 ผู้ติดเฮโรอีนจะต้องมารับประทานยาด้วยตนเองทุกวันให้ครบตามแพทย์สั่ง โดยปกติจะใช้เวลารักษารอบละ 45 วัน
2.2 ผู้ติดสารระเหยจะต้องมารับยาตามแพทย์นัดเป็นระยะ ปละจะต้องนำผู้ปกครองมาด้วย
2.3 ผู้ติดยาบ้า แพทย์อาจใช้ยารักษาตามอาการ หรือรักษาแบบจิต สังคม บำบัด
3. ขั้นฟื้นฟูสมรรถภาพ
เป็นการให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ป่วยและผู้ปกครอง เพือช่วยให้ผู้ป่วยสามารถแก้ไขปัญหาปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมจนสามารถหยุดเสพได้ตลอดระยะการบำบัดรักษา
4. ขั้นติดตามผลและดูแลหลังการรักษา
โดยการ
4.1 นัดผู้ป่วยมาพบที่คลินิกเป็นระยะ
4.2 ส่งจดหมายหรือไปรษณียบัตร
4.3 โทรศัพท์
4.4 เยี่ยมบ้าน
การรักษา
การดูแลรักษาปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นสามารถประยุกต์ใช้รูปแบบการป้องกันในมุมมองสาธารณสุข ได้ดังนี้
.การป้องกันปฐมภูมิ (Priomary Pre-vention)
คือกระบวนการให้ความรู้แก่วัยรุ่นที่ไม่เคยใช้สารเสพติด เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากการใช้สิ่งเหล่านี้ได้ กระบงนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ใน
สถานศึกษาหรือชุมชน เช่น การเกิดขึ้นได้ในสถานศึกษาหรือชุมชน เช่น การประชาสัมพันธ์ การให้ความรู้ การสร้างทักษะชีวิต
การป้องกันทุติยภูมิ(Secondary Pre-vention)
คือการให้การดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของปัญหา โดยกลุ่มเป้าหมายคือผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาหรือผู้ใช้สารเสพติดที่ยังไม่มีปัญหารุนแรง
ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ให้เกิดความเข้าใจในสภาพปัญหาของตน และจูงใจให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ดังนั้น จึงต้องอาศัยความใกล้ชิดและใส่ใจในสภาพ
ความเสี่ยงของตัววัยรุ่นและสามารถเลือกใช้วิธีโดยการคัดกรองที่ถูกต้องเพื่อดำเนินการอย่างเหมาะสม
.การป้องกันตติยภูมิ (Tertiary Pre-vention)
คือการให้การรักษาแก่ผู้ติดสารเสพติดซึ่งอาจเป็นไปในรูปแบบผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในหรือชุมชนบำบัด ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่ารูปแบบการรักษาเหล่านี้
มีลักษณะแตกต่างทั้งในแง่ของความซับซ้อนและการตอบสนองต่อความรุนแรงแต่ละขั้นของการเสพติดเพื่อช่วย
ให้วัยรุ่นผ่านพ้นช่วงวิกฤติของปัญหาไปได้
" ยาเสพติดเป็นผลร้ายอาจตายเพราะยาเสพติด"